Feeds:
เรื่อง
ความเห็น

http://www.ifla.org/en/calls-for-papers/216

Call for papers for the 26th Section Pre-Conference, Stockholm / Deadline 15 March 2010

The IFLA Library and Research Services for Parliaments Section invites proposals for presentations at the Section’s pre-conference program in Stockholm, 7-9th August 2010. The main theme of the Stockholm pre-conference is: “Open Access to parliamentary information“. A session at the pre-conference will focus upon “Parliaments of the future” to think about how parliaments may change in the years ahead of us, and what that will mean for how parliamentary libraries will provide services. We would like several presentations, panels or workshops.

We invite proposals for papers, workshops or panels that present, analyse or discuss topics relating to Parliaments of the Future such as:

– How Parliaments will look in the future
– What that will mean for parliamentary libraries and research services
– What role for parliamentary libraries and research services in shaping how citizens will engage with parliaments in the future to participate in debating important issues or shaping legislation
– How will parliamentary libraries and research services support their parliaments in using new technology tools

Submissions
Send an abstract (1 page or about 300 words), in English, of the proposed paper and relevant biographical information of the author(s)/presenter(s) by 15 March 2010.
Send your proposal via email to:
Moira Fraser
Chair, Section on Library and Research Services for Parliaments
Email: moira.fraser@parliament.govt.nz
The abstracts will be reviewed by members of the Standing Committee. Successful proposals will be identified by 12 April 2010. Full papers will be due by 14 June 2010 to allow time for review of papers and proposals for workshops or panels.

Depending upon the proposals received there may be a mix of short papers, and longer interactive sessions. Please indicate with your proposal how long you would like. The review committee will negotiate with proposers to ensure a balanced program.

Call for papers for the 76th IFLA Conference, Gothenburg/ Deadline 15 March 2010

The IFLA Library and Research Services for Parliaments Section invites proposals for presentations at the Section’s programme in Gothenburg. The main theme of the WLIC Conference 2010 is: “Open Access to knowledge – promoting sustainable progress”.
The Section’s programme will focus upon “The role of libraries in access to knowledge for democracy”. We require several presentations on topics related to this theme.

We invite proposals for papers, that analyse or discuss related topics such as:

– How parliamentary libraries and research services provide access to citizens to knowledge about parliament
– What kinds of support do parliamentary libraries and research services provide for public participation in democratic processes
– How libraries in general provide access to knowledge that supports democracy

Submissions
Send an abstract (1 page or about 300 words), in English, of the proposed paper and relevant biographical information of the author(s)/presenter(s) by 15 March 2010.
Send your proposal via email to:
Moira Fraser
Chair, Section on Library and Research Services for Parliaments
Email: moira.fraser@parliament.govt.nz

The abstracts will be reviewed by members of the Standing Committee. Successful proposals will be identified by 12 April 2010. Full papers will be due by 14 June 2010 to allow time for review of papers and proposals for workshops or panels.
There will be a mix of short papers, and longer interactive sessions. Please indicate with your proposal how long you would like. The review committee will make the final decisions about how long you will be allocated to make your presentation or run an interactive session.

ทำอย่างไรดี เมื่อผลของเอแบคโพลล์ เผย ประชาชนยังไม่มีความรู้มากพอในการตัดสินใจลงประชามติแก้รัฐธรรมนูญ
Source – กรมประชาสัมพันธ์ (Th)   Sunday, October 11, 2009 10:46
                เอแบคโพลล์ เปิดเผยผลสำรวจประชาชนยังไม่มีความรู้ความเข้าใจมากพอในการตัดสินใจลงประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ ขณะที่ ส่วนใหญ่ยังให้โอกาสรัฐบาลทำงานต่อไป
                นายนพดล กรรณิกา ผู้อำนวยการสำนักวิจัยเอแบคโพลล์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยผลสำรวจ “เอแบคเรียลไทม์โพลล์” เรื่อง สำรวจการอ่านรัฐธรรมนูญ และความคิดเห็นต่อข่าวปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นในรัฐบาลชุดปัจจุบัน

              โดยสุ่มตัวอย่างประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปใน 17 จังหวัดพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่ไม่เคยอ่านรัฐธรรมนูญทั้งฉบับปี 2540 และ 2550 โดย ร้อยละ 77.3 คิดว่าตนเองยังไม่มีความรู้ความเข้าใจมากพอ หากจะตัดสินใจลงประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญ ขณะที่ ร้อยละ 63.6 มองว่า เป็นเรื่องปกติธรรมดาของสังคมประชาธิปไตย ไม่ว่าผลการลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญจะออกมาอย่างไร

               สำหรับภาพลักษณ์ของรัฐบาลชุดปัจจุบันหลังการบริหารประเทศ 9 เดือน ประชาชน ร้อยละ 59 มองว่า รัฐบาลมีข่าวเรื่องการทุจริตคอรัปชั่นมาก ร้อยละ 47.6 คิดว่า รัฐบาลมีปัญหาการทุจริตในทุกกระทรวง และเมื่อถามถึงทางออกที่เหมาะสมของรัฐบาลในสถานการณ์การเมืองขณะนี้ พบว่า ร้อยละ 28.8 ต้องการให้รัฐบาลทำงานต่อไป รองลงมาคือ ควรยุบสภา และปรับคณะรัฐมนตรี
ที่มา: สำนักข่าว กรมประชาสัมพันธ์

อ่านเพิ่มเติมที่   http://www.abacpoll.au.edu/flash/2552/hotpoll101052_g.swf

  • ต้องการอ่านรัฐธรรมนูญ  2550 มีทั้ง PDF และ Text ให้เลือกดาวน์โหลดได้จาก www.senate.go.th ที่

ภาษาไทย http://www.senate.go.th/nla5/main/constitution-t.htm

ภาษาอังกฤษ English version http://www.senate.go.th/nla5/main/constitution-e.htm

หากต้องการฉบับสิ่งพิมพ์ ห้องสมุดและจดหมายเหตุวุฒิสภา ยินดีเป็นสื่อกลางในการจัดส่งให้นะคะ สามารถติดต่อได้ที่ …..

ห้องสมุดและจดหมายเหตุวุฒิสภาสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา โทร 028319313 – 4  ติดต่อ แสงเดือน ผ่องพุฒ sangduen@senate.go.th

…. การอ่านสร้างชาติ ….

ช่วงนี้มีเรื่องต้องค้นคว้าเรื่องราวประวัติศาสตร์เกี่ยวกับรัฐสภา วุฒิสภา อีกทั้งได้มีโอกาสสนทนากับผู้ที่มีประสบการณ์ในการทำงานที่สภา ทั้งในฐานะสมาชิกสภาและข้าราชการ ทำให้จุดประกายเรื่องราวต่างๆ ซึ่ง ตอนนี้มีเรื่องที่อยู่ในความสนใจหลายเรื่อง อาทิ
– การถ่ายทอดการประชุมสภาเริ่มต้นเมื่อใด
– ตราพานที่ใช้ในปัจจุบันมีที่มาและที่ไปอย่างไร
– ข้อบังคับการประชุมสภา
– และอีกมากมายหลายเรื่อง
หากท่านใดมีข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว โปรดให้ข้อมูลแก่ผู้จัดทำด้วยเพื่อรวบรวมเป็นประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสภาต่อไป

โปรดติดต่อที่
นางสาวแสงเดือน ผ่องพุฒ บรรณารักษ์ 5 กลุ่มงานห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา โทร 028319313   sangduen_p@hotmail.com

เอกสารจดหมายเหตุรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับการยกย่องจากองค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือ ยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็น 1 ใน 35 มรดกความทรงจำของโลก ปี 2552 เอกสารดังกล่าว ประกอบด้วย เอกสารจัดเก็บไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ จำนวน 2,846 รายการ ส่วนเอกสารที่จัดเก็บไว้ที่ หอจดหมายเหตุแห่งชาติ มีจำนวนมากกว่า 800,000 แผ่น

Archival Documents of King Chulalongkorn’s Transformation of Siam (1868-1910) (Thailand):

Present-day Thailand owes much to the policies and reforms carried out by King Chulalongkorn the Great of Siam (1868-1910). The documents record social policies such as the emancipation of slaves by peaceful and legal means, the abolition of gambling, the establishment of a public school system and the reform of the Buddhist Sangha, as well as the promotion of agricultural production, the market economy, and financial and fiscal institutions. These measures contributed to Siam’s ability, exceptional during the age of Western colonialism, to retain its independence.

Reference :   http://portal.unesco.org/en/ev.php-URL_ID=46187&URL_DO=DO_TOPIC&URL_SECTION=201.html

http://portal.unesco.org/ci/en/files/27292/12150935613Thailand_KingRamaV.doc/Thailand%2BKingRamaV.doc

สวัสดีค่ะ
วันนี้ อยู่ในช่วงเวลาของการตัดสินใจว่าจะไปเข้าร่วมประชุม IFLA 2009 ที่ Milan ดีหรือไม่ อ่านกำหนดการไปเรื่อยๆ  ก็ไปพบบทความที่เพื่อนร่วมวิชาชีพจะนำเสนอในการประชุม IFLA 2009 ที่ Milan หลายบทความดีๆ พบบทความนี้ก็เลยถือโอกาสเลือกที่จะอ่านก่อนจากบทคัดย่อ (ใครได้ไปฟัง คงว่าไม่กันนะคะ) จากเรื่อง

Parliamentary libraries: an uncertain future?

By Anna Galluzzi,   Biblioteca del Senato “Giovanni Spadolini”  Email: anna.galluzzi@gmail.com

Reference:

Galluzzi, Anna. Parliamentary libraries: an uncertain future?  [Online].  Accessed 3 August 2009. Available from  http://www.ifla.org/annual-conference/ifla75/index.htm

Abstract
Parliamentary libraries are libraries serving the parliamentary institutions on a national or local level. Usually they were and are founded at the same time as the Parliament itself and are organised according to the parliamentary model of the country in which they are located. The parliamentary library’s mission is to support and facilitate parliamentary activities and make available all the useful sources of information to the parliament as a whole. Thus, the parliamentary library is a specialised library from the point of view both of the collections’ coverage and of patrons whom it is addressed.
Today, parliamentary libraries are at a turning point in their history. All over the world they are deeply changing their nature and experimenting new possibilities. In particular, they are facing two main turnarounds:
• the convergence towards a digital and networked society which is strongly affecting libraries of any type;
• the changing role of Parliaments: some scholars talk about a crisis of traditional parliaments as institutional places whereas some of the main decisions regarding political life and society are taken elsewhere.
The internal fragmentation of parliamentary administration, the multiplication of search possibilities, the amount of topics debated every day and the need for information processed and immediately available for use are some of the reasons why the traditional parliamentary libraries are lagging behind in everyday parliamentary activities. This is why parliamentary libraries are re-inventing themselves according to two main
directions:
• becoming internal documentation centres and integrating their services with other parliamentary offices and departments and, sometimes, giving up their physical structure;
• extending their role beyond the boundaries of the parliamentary library type and assuming other functions; according to this statement, some parliamentary libraries have opened to the general public; others have got the status of national libraries or have become central research libraries for a specific disciplinary field such as political science and law.
2
In 1931 Ranganathan wrote: “libraries are living organisms”. If true, this means that they are expected to adapt themselves to the context in which they work, without giving up their inner mission and role in the society. How can parliamentary libraries face this challenge in a meaningful way?

Digital Information for Democracy: Management, Access and Preservation
Rome, Joint Parliamentary Library, 19-21 August 2009

The theme for this conference Digital Information for Democracy: Management, Access and Preservation is the cutting edge in innovation and development of parliamentary libraries and documentation services, which are the hub of a complex information system gathering, processing and providing documentation services to the institutions, and networking legislatures. The two Libraries of the Italian Parliament have been very active in this field, especially since they have opened up to the public a significant step strengthened by a policy to merge the two libraries into a Joint Parliamentary Library and are now called to respond to a growing number of increasingly varied requests for information.

ห้องสมุดวุฒิสภาและมุมที่ใช่@Chaophaya River View

ห้องสมุดวุฒิสภาและมุมที่ใช่@Chaophaya River View

ห้องสมุดวุฒิสภาและมุมที่ใช่ Chaopaya River View @ Senate Library

วันนี้ได้มาทำงานและเปิดม่านบังแดดไว้
ตอนแรกไม่เห็นมีอะไรน่ามอง แต่ก่อนที่จะมาเขียนบล็อกนี้ ได้พบกับมุมที่คิดว่าหลายคนอาจจะไม่ได้สนใจ
แม่น้ำเจ้าพระยาในมุมที่ใช่ ดูแล้วสบายใจ
ผู้ใช้บริการห้องสมุดวุฒิสภา สามารถสัมผัสกับมุมนี้ ได้ที่ ห้องสมุดวุฒิสภา ชั้น 26 อาคารสุขประพฤติ ดูแล้วจะบอกว่า นี่เลย มุมที่ฝันอยากเห็นมานานแล้วววววววววววววว…

ฐานข้อมูลจากห้องสมุดวุฒิสภา – ห้องสมุดข่าวมติชน – กฤตภาคข่าว ห้องสมุดข่าวมติชน
 
กฤตภาคข่าว ห้องสมุดข่าวมติชน ต่างจาก ข่าวของ NewsCenter อย่างไร
 
     NewsCenter จะเป็นข่าวที่เกิดจากระบบการพิมพ์ข่าวจากแหล่งข่าวต่างๆ เข้าสู่ระบบฐานข้อมูล แต่ กฤตภาคข่าวจากห้องสมุดข่าวมติชน 
จะเป็นข่าวที่ตัดจากหนังสือพิมพ์ฉบับต่างๆ แล้วสแกนเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล จากนั้นจะให้หัวเรื่องและหมวดหมู่ตามที่กำหนดไว้
 
ห้องสมุดข่าวมติชน http://www.matichonelibrary.com/
บริการสืบค้นที่ครอบคลุม ฐานข้อมูลจากสื่อสิ่งพิมพ์ มากที่สุดในเมืองไทย
ติดต่อขอรับ ชือผู้ใช้และรหัสผ่านได้ที่ โทร 028319313-4 ศิริกาญจน์ หรือ สุเภาวดี
ฐานข้อมูลนี้บริการสมาชิกวุฒิสภา บุคลากรของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา บุคคลในวงงานวุฒิสภา
 
ห้องสมุดข่าวมติชน
ทางเลือกใหม่ในการสืบค้นและติดตามข้อมูลในหมวดและหัวเรื่องที่คุณหรือองค์กร ต้องการ ทุกที่ ทุกเวลา ในรูปแบบ ของข่าว สัมภาษณ์ บทความ บทวิเคราะห์-วิจารณ์ รายงาน หรือข้อเขียนอื่นๆ เกี่ยวข้องกับองค์กร ภาครัฐ และเอกชน รวมทั้งบุคคลสำคัญที่ เกี่ยวข้องกับธุรกิจทุกประเภท ตามหมวดหมู่ดังนี้
หมวด อุตสาหกรรมและการบริการ
หมวด การก่อสร้างและพัฒนาที่ดิน/ธุรกิจรับเหมา/การออกแบบตกแต่ง
หมวด การคมนาคม/การขนส่ง/การสื่อสารโทรคมนาคม
หมวด เกษตรกรรม
หมวด ทรัพยากร/เหมืองแร่/พลังงาน
หมวด เศรษฐกิจและการเงิน
หมวด การเมือง
หมวด ภาษาและสื่อสารมวลชน/ศิลปวัฒนธรรม
หมวด วิทยาศาสตร์และการแพทย์
หมวด เบ็ดเตล็ด
หมวด หมวดพิเศษ
หมวด หมวดอื่นๆ
ข้อมูลเพิ่มเติมอ่านได้ที่ http://www.matichonelibrary.com/faq.html

Knowledge and Information Delivery Services

Knowledge and Information Delivery Services

                                                                บริการจัดส่งหนังสือ เอกสาร ข้อมูลจาก… ห้องสมุดวุฒิสภา ถึงมือผู้ใช้

Knowledge and Information Delivery Services

 หากท่าน…

ในช่วงทดลองดำเนินการ จะให้บริการเฉพาะสมาชิกวุฒิสภา บุคลากรของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา หากมีผู้สนใจมากขึ้นอาจขยายขอบเขตการเพิ่มเติม

  • อยู่อาคารรัฐสภา ๒ ไม่มีเวลาเดินทางมายืม-คืน หรือใช้บริการห้องสมุดวุฒิสภาที่อาคารสุขประพฤติด้วยตนเอง

เพียงท่าน…

1. เลือกรายการวัสดุสารสนเทศที่ต้องการจากระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศ
ของห้องสมุดวุฒิสภา
http://172.16.6.150 หรือ http://senatelibrary (ใช้ได้เฉพาะเครือข่ายของรัฐสภาและวุฒิสภา วันและเวลาราชการ)

ต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ติดต่อ ศิริกาญจน์ หรือ สุเภาวดี

โทร 02 831 9313-4

email หรือ msn : sangduen_p@hotmail.com

2. กรณีที่ต้องการขอใช้บริการข้อมูลวิชาการ สามารถ แจ้งหัวข้อ/เรื่องที่ต้องการและกำหนดวันที่ต้องการข้อมูล และวิธีการรับข้อมูล

 3. โทรศัพท์ไปที่ 02-8319313-4  ติดต่อ ศิริกาญจน์ หรือ สุเภาวดี  แจ้งรายการวัสดุสารสนเทศที่ต้องการ หรือ email หรือ msn ไปที่ sangduen_p@hotmail.com

 

4. หากท่านยังไม่ได้สมัครเป็นสมาชิกห้องสมุดวุฒิสภา กรุณากรอกแบบฟอร์มสมัครสมาชิกห้องสมุดวุฒิสภา ก่อนขอใช้บริการยืม-คืนวัสดุสารสนเทศ

5. ห้องสมุดวุฒิสภาจะดำเนินจัดส่งวัสดุสารสนเทศ หรือ ข้อมูลวิชาการ
ไปยังท่านตามที่ได้แจ้งไว้โดยเร็ว โดยฝากไปกับรถตู้ที่วิ่งระหว่างอาคาร หรือวิธีการอื่นตามที่ได้ตกลงไว้

สำเนาเอกสารวิจัยส่วนบุคคล ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ เรื่อง ภาษีมรดก (estate tax)  มีให้บริการแล้ว ที่ห้องสมุดวุฒิสภา อาคารสุขประพฤติ ชั้น 19 โทร 02 831 9313(แสงเดือน)

ด้วยความอนุเคราะห์จาก ท่านประธานวุฒิสภา (ศาสตราจารย์พิเศษ ประสพสุข บุญเดช)

        **เมื่อสักสองสัปดาห์ที่แล้ว พี่น้อง อารีย์รัตน์ ห้องสมุดรัฐสภาสอบถามมาว่ามีเอกสารเรื่องนี้หรือไม่ จะขอสำเนาเพื่อให้บริการ เพราะเรื่องนี้กำลังเป็นประเด็นที่อยู่ในความสนใจ ได้ตอบไปว่าต้องไปแอบดูก่อนว่ามีอยู่ที่ชั้นหรือไม่ จากการตรวจสอบที่ชั้นแล้วไม่พบ จึงไปสอบถามจากสำนักงานประธานวุฒิสภาว่าท่านประธานจบรุ่นใด จะได้ค้นหาได้ง่ายขึ้น ได้โทรไปที่ วปอ. เพื่อจะไปขอสำเนา แต่เนื่องจากยังหาช่องว่างไปสำเนาไม่ได้ วันนี้เมื่อได้รับเอกสารที่สำนักงานประธานฯ ส่งมาให้ รู้สึกดีใจเป็นอย่างยิ่ง เพราะว่าเป็นเอกสารที่จะต้องการไปดำเนินการขอสำเนาอยู่พอดี ได้รับมาอย่างนี้แล้ว ก็ไม่ต้องไปขอสำเนาแล้ว ขอบคุณมากนะคะที่คิดถึงมอบเอกสารให้ ช่วยลดภารกิจไปหนึ่งเรื่อง ขอบคุณอีกครั้งค่ะ… แสงเดือน ห้องสมุดวุฒิสภา….